ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พญากือนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Quantplinus (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหัวข้อ →‎พระอุปนิสัย
 
(ไม่แสดง 36 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 24 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{infobox royalty
'''พระเจ้ากือนาธรรมิกราช''' หรือที่ส่วนใหญ่นิยมเรียกพระนามสั้นๆว่า '''พระยากือนา''' หรือ '''พระเจ้ากือนา''' ทรงเป็นกษัตริย์ องค์ที่ 6 แห่ง[[ราชวงศ์เม็งราย]] ทรงครองราชย์ใน [[พ.ศ. 1898]] - [[พ.ศ. 1928|1928]] พระองค์เป็นผู้ที่ศรัทธาใน[[พระพุทธศาสนา]]อย่างแรงกล้า พระองค์เป็นผู้อัญเชิญพระบรมธาตุของ[[พระพุทธเจ้า]]ไปประดิษฐานบน[[ดอยสุเทพ]]
| title =
| image =
| caption =
| succession = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา|พระมหากษัตริย์แห่งล้านนา]] พระองค์ที่ 6
| reign = พ.ศ. 1898–1928 (30 ปี)
| predecessor = [[พญาผายู]]
| successor = [[พญาแสนเมืองมา]]
| birth_style = {{Nowrap|พระราชสมภพ}}
| birth_date =
| death_date =
| father = [[พญาผายู]]
| spouse = จิตราเทวี, [[พระนางยสุนทราเทวี]]
| issue = [[พญาแสนเมืองมา]]
| dynasty = [[ราชวงศ์มังราย|มังราย]]
}}


'''พญากือนา''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-King Kuena.png|100px]]}}), '''พญาธรรมิกราช''' หรือ '''เจ้าท้าวสองแสนนา อันธรรมิกราช'''<ref>{{cite book | author = ยรรยงค์ สิกขะฤทธิ์ | title = การศึกษาเปรียบเทียบราชาศัพท์ในภาษาไทยและภาษาเขมรจากมุมมองข้ามสมัย | url = https://cuir.car.chula.ac.th/dspace/bitstream/123456789/59148/1/5480517022.pdf?fbclid=IwAR0zi433uGbvqhcK7gN9vbE1Ar83j0LE0GiRs9U9cz4gY4T_7ffCPapYAlM | publisher = คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | location = | year = 2559 | page = 268 |quote= "...อันว่าพระเศลาจารึกเจ้าท้าวสองแสนนา อันธรรมิกราช ผู้เป็นลูกรักแก่พญาผายู เป็นหลานแก่พญาคำฟู เป็นเหลนแก่พญามังรายเจ้าท้าวนี้ เมื่อสุดชนมาพิธี ปีเดือนพ่อตนดังอั้น จึงได้เสวยพระราชชัยศรี มีศักดิ์มีบุญฤทธิ์เดชะตบะหนักหนา..."}}</ref> เป็นพระมหากษัตริย์ล้านนา รัชกาลที่ 6 แห่ง[[ราชวงศ์มังราย]] ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1898 - พ.ศ. 1928<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref> เป็นพระราชโอรสใน[[พญาผายู]]กับพระนางจิตราเทวี<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[สรัสวดี อ๋องสกุล]]| ชื่อหนังสือ = กษัตริย์ล้านนาเชียงใหม่| จังหวัด = เชียงใหม่| พิมพ์ที่ = ศูนย์ล้านนาศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่| ปี = 2557| ISBN = 978-974-672-853-9| จำนวนหน้า = 166| หน้า = 54}}</ref>
{{ราชวงศ์เม็งราย}}


พญากือนามีศรัทธาใน[[ศาสนาพุทธ]]อย่างแรงกล้า โปรดให้อาราธนาพระสุมนเถรจากกรุงสุโขทัยมาประดิษฐานพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ในล้านนา<ref>{{cite web|title=จารึกวัดพระยืน ด้านที่ ๑|url=http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_image_detail.php?id=189|publisher=[[ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร]]|date=2549|accessdate=23 กรกฎาคม 2560}}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> และอัญเชิญ[[พระบรมสารีริกธาตุ]]ไปประดิษฐานบน[[ดอยสุเทพ]]
[[ja:クーナー]]


== พระอุปนิสัย ==
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เม็งราย]]
''พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ'' กล่าวว่า:-
{{โครงกษัตริย์}}
{{Blockquote|text=ฝ่ายพระเจ้ากือนาครอบราชสมบัติเมืองนครพิงค์เชียงใหม่ประกอบชอบด้วยทศพิธราชธรรมเลอมใสในพระวรพุทธศาสนา และพอพระทัยศึกษาศิลปศาสตร์ต่าง ๆ ทรงชำนิชำนาญในทางโหราศาสตร์ ศัพทศาสตร์ นิทานอุปเทศ เพทางคศาสตร์ คชศาสตร์ เป็นต้น ทรงพระปรีชาสามารถในราชกิจใหญ่น้อยต่าง ๆ ท้าวพระยานานาประเทศทั้งหลายก็ยำเกรงน้อมนำบรรณาการยื่นถวายบ่มิขาด กาลยามนั้นเมืองนครพิงค์เชียงใหม่สมบูรณ์ด้วยธัญญาหารและแสนเสนามาตย์ราษฎรประชาผู้กล้าผู้หาร บริบูรณ์ด้วยศฤงคารและราชสมบัติราชฎรชื่นบานชุ่มเย็นเป็นเกษมสุขทั่วกัน<ref>กรมศิลปากร. (2505). ''พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ''. พระนคร: ศิลปาบรรณาคาร. หน้า 317.</ref>
|author=พระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุนนาค) (รวบรวมเมื่อ พ.ศ. 2449)
|source=พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ, บริจเฉจที่ ๑๖ ว่าด้วยสร้างเมืองเชียงแสน.}}

== ราชตระกูล ==
{{ahnentafel top|width=100%}}
<center>{{ahnentafel-compact5
| style=font-size: 90%; line-height: 110%;
| border=1
| boxstyle=padding-top: 0; padding-bottom: 0;
| boxstyle_1=background-color: #fcc;
| boxstyle_2=background-color: #fb9;
| boxstyle_3=background-color: #ffc;
| boxstyle_4=background-color: #bfc;
| boxstyle_5=background-color: #9fe;
| 1= 1. '''พญากือนา'''
| 2= 2. [[พญาผายู]]
| 3= 3. พระนางจิตราเทวี
| 4= 4. [[พญาคำฟู]]
| 5=
| 6=
| 7=
| 8= 8. [[พญาแสนพู]]
| 9=
| 10=
| 11=
| 12=
| 13=
| 14=
| 15=
| 16= 16. [[พญาไชยสงคราม]]
| 17=
| 18=
| 19=
| 20=
| 21=
| 22=
| 23=
| 25=
| 26=
| 27=
| 28=
| 29=
}}</center>
{{ahnentafel bottom}}

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| รูปภาพ = Seal of Lanna Chiangmai (Full).png
| ก่อนหน้า = [[พญาผายู]]
| ตำแหน่ง = พระมหากษัตริย์ล้านนา
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์มังราย
| ปี = พ.ศ. 1898 - พ.ศ. 1928
| ถัดไป = [[พญาแสนเมืองมา]]
|}}
{{จบกล่อง}}
{{กษัตริย์ล้านนา}}

{{เรียงลำดับ|กือนา}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ล้านนา]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์มังราย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14]]
{{โครงพระมหากษัตริย์}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:07, 26 พฤษภาคม 2567

พญากือนา
พระมหากษัตริย์แห่งล้านนา พระองค์ที่ 6
ครองราชย์พ.ศ. 1898–1928 (30 ปี)
ก่อนหน้าพญาผายู
ถัดไปพญาแสนเมืองมา
คู่อภิเษกจิตราเทวี, พระนางยสุนทราเทวี
พระราชบุตรพญาแสนเมืองมา
ราชวงศ์มังราย
พระราชบิดาพญาผายู

พญากือนา (ไทยถิ่นเหนือ: ), พญาธรรมิกราช หรือ เจ้าท้าวสองแสนนา อันธรรมิกราช[1] เป็นพระมหากษัตริย์ล้านนา รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์มังราย ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1898 - พ.ศ. 1928[2] เป็นพระราชโอรสในพญาผายูกับพระนางจิตราเทวี[3]

พญากือนามีศรัทธาในศาสนาพุทธอย่างแรงกล้า โปรดให้อาราธนาพระสุมนเถรจากกรุงสุโขทัยมาประดิษฐานพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ในล้านนา[4] และอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุไปประดิษฐานบนดอยสุเทพ

พระอุปนิสัย[แก้]

พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ กล่าวว่า:-

ฝ่ายพระเจ้ากือนาครอบราชสมบัติเมืองนครพิงค์เชียงใหม่ประกอบชอบด้วยทศพิธราชธรรมเลอมใสในพระวรพุทธศาสนา และพอพระทัยศึกษาศิลปศาสตร์ต่าง ๆ ทรงชำนิชำนาญในทางโหราศาสตร์ ศัพทศาสตร์ นิทานอุปเทศ เพทางคศาสตร์ คชศาสตร์ เป็นต้น ทรงพระปรีชาสามารถในราชกิจใหญ่น้อยต่าง ๆ ท้าวพระยานานาประเทศทั้งหลายก็ยำเกรงน้อมนำบรรณาการยื่นถวายบ่มิขาด กาลยามนั้นเมืองนครพิงค์เชียงใหม่สมบูรณ์ด้วยธัญญาหารและแสนเสนามาตย์ราษฎรประชาผู้กล้าผู้หาร บริบูรณ์ด้วยศฤงคารและราชสมบัติราชฎรชื่นบานชุ่มเย็นเป็นเกษมสุขทั่วกัน[5]

— พระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุนนาค) (รวบรวมเมื่อ พ.ศ. 2449), พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ, บริจเฉจที่ ๑๖ ว่าด้วยสร้างเมืองเชียงแสน.

ราชตระกูล[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. ยรรยงค์ สิกขะฤทธิ์ (2559). การศึกษาเปรียบเทียบราชาศัพท์ในภาษาไทยและภาษาเขมรจากมุมมองข้ามสมัย (PDF). คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. p. 268. ...อันว่าพระเศลาจารึกเจ้าท้าวสองแสนนา อันธรรมิกราช ผู้เป็นลูกรักแก่พญาผายู เป็นหลานแก่พญาคำฟู เป็นเหลนแก่พญามังรายเจ้าท้าวนี้ เมื่อสุดชนมาพิธี ปีเดือนพ่อตนดังอั้น จึงได้เสวยพระราชชัยศรี มีศักดิ์มีบุญฤทธิ์เดชะตบะหนักหนา...
  2. รุ่งพงษ์ ชัยนาม. ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  3. สรัสวดี อ๋องสกุลกษัตริย์ล้านนาเชียงใหม่. เชียงใหม่ : ศูนย์ล้านนาศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557. 166 หน้า. หน้า 54. ISBN 978-974-672-853-9
  4. "จารึกวัดพระยืน ด้านที่ ๑". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. 2549. สืบค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  5. กรมศิลปากร. (2505). พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ. พระนคร: ศิลปาบรรณาคาร. หน้า 317.


ก่อนหน้า พญากือนา ถัดไป
พญาผายู
พระมหากษัตริย์ล้านนา
(พ.ศ. 1898 - พ.ศ. 1928)
พญาแสนเมืองมา